top of page
ค้นหา

ตลาดร้านค้าปลีกในไทยอยู่ภายใต้การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมและมีการเพิ่มขึ้นของผู้ขายน้อยราย เนื่องจากมีการควบรวมและการเข้าซื้อกิจการขนาดใหญ่ (M&As)

ตลาดการค้าปลีกไทยเป็นผู้ขายน้อยรายที่ถูกควบคุมโดยกลุ่มหลักๆ ทั้งสามกลุ่ม: CP, Central และ TTC

ตลาดการค้าปลีกในประเทศไทยอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ขายน้อยรายของ CP, Central group และ TTC. Central Group เป็นเจ้าของเครือซุปเปอร์มาเก็ตระดับสูงเช่น Tops Market และ Central Foodhall ในขณะเดียวกัน กลุ่ม TTC หนึ่งในกลุ่มบริษัทใหญ่ที่สุดของประเทศไทย ซึ่งรวมถึง ไทย เบเวอร์เรจ (ที่รู้จักกับแบรนด์อย่าง "เบียร์ช้าง" ที่มีป้ายช้าง) ลงทุนในไฮเปอร์มาร์เก็ตเช่น Big C เน้นร้านค้าขายส่ง ในขณะที่กลุ่ม CP ดำเนินธุรกิจเครือร้านสะดวกซื้อ Seven Eleven ซึ่งมีร้านกว่า 12,000 ร้านและเน้นธุรกิจร้านค้าเงินสดพกพาแบบ Makro



ในช่วงปีที่ผ่านมา การปรับโครงสร้างธุรกิจผ่านการทำดีล M&A ขนาดใหญ่นั้น ได้นำไปสู่แนวโน้มที่เร่งรีบของผู้ขายน้อยราย

ในปี 2563 Tesco ซึ่งเป็นเครือซุปเปอร์มาร์เก็ตที่ใหญ่ที่สุดในสหราชอาณาจักร ทำการขายให้กับประเทศไทยและมาเลเซียให้กับกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ในประเทศไทย Charoen Pokphand Group (รู้จักกันในชื่อ "CP Group") การเจรจาซื้อขายมูลค่า 10.6 พันล้านดอลลาร์ (เกิน 1 ล้านล้านเยน) การทำธุรกรรมในครั้งนี้ได้เป็นการทำดีล M&A ที่ใหญ่ที่สุดในเอเชียในปีนั้นๆ


กราฟต่อไปนี้แสดงรายการดีลการทำ M&A ที่สำคัญ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปีที่ผ่านมา (2555-2561) ในทั้งหมดแปดดีลนั้น บริษัทไทยได้ครอบครองเรื่องขนาดการซื้อขายอยู่ในสี่อันดับแรก แสดงถึงการปรากฎตัวที่ท่วมท้นของพวกเขา เป็นที่น่าสังเกตว่า ดีลสองดีลที่เกิดขึ้นภายนอกประเทศไทยนั้น (รวมถึงประเทศเวียดนาม) บริษัทค้าปลีกของไทยกำลังก้าวหน้าในการจัดตั้งฐานการค้าไม่มีเพียงแต่ในประเทศเท่านั้น แต่ยังจัดตั้งฐานในต่างประเทศด้วย ควรกล่าวถึง บริษัทญี่ปุ่น Aeon Group เป็นเพียงแค่บริษัทเดียวที่มีการระบุอยู่ในรายการ ได้ทำการเข้าซื้อกิจการในมาเลเซียบริษัท Carrefour ซึ่งเป็นยักษ์ใหญ่ในวงการค้าปลีกของฝรั่งเศษ



สำหรับตลาดการค้าปลีกในไทย ซึ่งมีบริษัทส่วนตัวมีส่วนแบ่งตลาดที่ต่ำอยู่ที่ 10 %, การระบาดของ COVID-19 นั้นเป็นจุดเปลี่ยน

ต่างจากยุโรป สหรัฐอเมริกา และประเทศญี่ปุ่น แบรนด์ส่วนตัว (แบรนด์ต้นฉบับของผู้ผลิต) มักจะมีเป็นส่วนใหญ่ของตลาด แบรนด์เหล่านั้นไม่ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลายจากผู้บริโภคที่เป็นคนไทย โดยส่วนแบ่งของยอดขายรวมทั้งหมดต่ำกว่า 10 % นี้เป็นสิ่งที่เกิดมาจากการมีอยู่ของกลุ่มบริษัทค้าปลีกอย่าง CP ที่มีช่องทางการกระจายสินค้าอย่างโดดเด่น และ การควบรวมเพิ่มเติมอาจเป็นผลเสียต่อผู้ผลิต


ผลกระทบต่อผู้บริโภคที่ไม่สามารถเพิกเฉยได้ มีการเรียกร้องด้านมาตรการบริหารหรือนโยบาย ซึ่งรวมถึงคณะกรรมการแข่งขัน มีการดำเนินก้าวหน้าอย่างตั้งใจ แต่ยังไม่ได้ลงมือทำ มีผลกระทบทางการเงินที่สำคัญต่อบริษัทธุรกิจค้าปลีกหลังจากการระบาดของ COVID-19 และการล็อกดาวน์ มีความเป็นไปได้สูงที่จะมีการควบรวมเพิ่มเติมในหมู่ผู้เล่นรายใหญ่และผู้ขายน้อยราย


ในทางตรงกันข้าม สำหรับผู้ผลิตนั้น การสร้างจุดสัมผัสใหม่กับผู้บริโภคผ่านการขยายที่รวดเร็วของการซื้อขายออนไลน์ที่กำลังขยายอย่างรวดเร็วในช่วง "อยู่ที่บ้าน" ได้นำไปสู่ความสามารถในการปรับปรุงทำกำไรที่มากขึ้นผ่านการเปลี่ยนแปลงรูปแบบธุรกิจ เป็นแนวโน้มในอนาคตที่มีความขาดหวังอยู่อย่างมาก


ขอบคุณที่อ่านจนจบเรื่อง สำหรับคำถามเกี่ยวกับเนื้อหาของบทความ ข้อมูลเกี่ยวกับดีล M&A ในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องหรือพาร์ทเนอร์ทางธุรกิจที่เป็นไปได้ หรือการให้คำปรึกษาเรื่องวิจัยตลาด โปรดติดต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องหรือใช้แบบฟอร์มติดต่อ

 
 
 

Comments


นิตยสารอีเมล

Thank you!

ติดตาม

  • LinkedIn
  • Facebook

เราส่งข้อมูลธุรกิจล่าสุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ความรู้และการอภิปรายเกี่ยวกับการเข้าซื้อและควบรวมกิจการข้ามพรมแดน ข้อมูลสัมมนา และอื่นๆ
ในจดหมายข่าวทางอีเมลของเรา

ข้อมูลการรับสมัครงาน

bottom of page